โปรดรอสักครู่
ข้อมูลนักวิจัย
ข้อมูลส่วนบุคคล
ข้อมูลส่วนบุคคล
ชื่อ - นามสกุล นาย ทัศไนย จารุวัฒนพันธ์
ชื่อ - นามสกุล (ภาษาอังกฤษ) Mr. Tassanai Jaruwattanaphan
ข้อมูลติดต่อ
 tassanai.j@ku.th
ตำแหน่งทางวิชาการ และตำแหน่งอื่น คุณวุฒิทางการศึกษา รายละเอียดเพิ่มเติม(สาขา/สถาบัน/ประเทศ/ปีที่จบ) สังกัด
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปริญญาเอก
Biology / Chiba University/Japan/2013 คณะเกษตร /ภาควิชาพืชสวน
สาขาที่เชี่ยวชาญ/สาขาวิชาชีพ รายละเอียดเพิ่มเติม
พฤกษศาสตร์
อนุกรมวิธาน
อนุกรมวิธาน
เทคโนโลยีชีวภาพ
กลุ่มสิ่งมีชีวิต หมวดหมู่ หมวดหมู่ย่อย
พืช เฟิร์นและไลโคไฟต์ (Fern, Lycophyte )
ผลงานวิจัย
ผลงานวิจัย
1 ทัศไนย จารุวัฒนพันธ์. 2557. การศึกษาจุดกำเนิดเฟินลูกผสมพันธุ์การค้าทางพืชสวนในกูดผีเสื้อพันธุ์ปลูก ‘Mayi’ โดยการวิเคราะห์ลำดับเบสดีเอ็นเอร่วมกับเครื่องหมาย SSCP. แก่นเกษตร. 42(พิเศษ3): 478-483. TCI
2 ทัศไนย จารุวัฒนพันธ์, ศรัณย์พร ล่องชูผล และ ปริยานุช จุลกะ. 2558. ผลของวัสดุปลูกที่เหมาะสมต่อการปักชำใบดอกหิน (Selaginella pulvinata (Hook. et Grev.) Maxim.). วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. 46(3): 209-212. TCI
3 กฤติกา อนันต์ชัยลิขิต, ทัศไนย จารุวัฒนพันธ์ และ อลิศรา มีนะกนิษฐ. 2559. สัดส่วนระหว่างพรรณไม้ระดับกลางในงานภูมิทัศน์ที่กระจายพันธุ์ในไทยกับพรรณไม้นำเข้าจากต่างประเทศที่จำหน่ายในตลาดพรรณไม้กรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. 47(3): 279-292. TCI
4 พีรยุทธ สิรินฐนกร, อารยา อาจเจริญ เทียนหอม, ศิริลักษณ์ แก้วสุรลิขิต, กัลยาณี สุวิทวัส, พิมพ์นิภา เพ็งช่าง, เจนจิรา ชุมภูคำ และ ทัศไนย จารุวัฒนพันธ์. 2559. ผลของไมคอร์ไรซาร่วมกับผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพต่อการอยู่รอดและการเจริญเติบโตของต้นกล้ากล้วยน้ำว้าพันธุ์ปากช่อง 50 ในแปลงปลูก. 47(2): 357-360. TCI
5 สุทธาสินี ปิ่นทอง, ธัญญะ เตชะศีลพิทักษ์, ทัศไนย จารุวัฒนพันธ์, พีรนุช จอมพุก และ วิชัย ภูริปัญญวานิช. 2559. การปรับปรุงพันธุ์ไทรย้อยใบทู่และไทรย้อยใบแหลมโดยการใช้รังสีแกมมา. วิทยาศาสตร์เกษตร. 47(3): 441-451. TCI
6 อัฐตพล จรบุรมย์ อารยา อาจเจริญ เทียนหอม และ ทัศไนย จารุวัฒนพันธ์. 2559. การสำรวจพืชกลุ่มเทอริโดไฟต์ที่ใช้เป็นพรรณไม้น้าประดับในประเทศไทย. วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์. 3: 1-9. TCI
7 อารยา อาจเจริญ เทียนหอม, อติกานต์ ตงสกุลรุ่งเรือง, ทัศไนย จารุวัฒนพันธ์, กัลยาณี สุวิทวัส, พิมพ์นิภา เพ็งช่าง, ขวัญหทัย ทะนงจิตร และ เบญจมาศ ศิลาย้อย. 2561. ความมีชีวิต และความงอกของเรณูกล้วยน้าว้า 9 สายต้น. วิทยาศาสตร์เกษตร. 49(1): 408-411. TCI
8 แคทรียา เฟื่องการกล, เบญญา มะโนชัย, เดชา ดวงนามล, ทัศไนย จารุวัฒนพันธ์ และ มณฑล จำเริญพฤกษ์. 2561. การขยายพันธุ์พลับพลึงธาร (Crinum thaianum J. Schulze) และการใช้คาร์บอนไดออกไซด์ เพื่อการผลิตต้นกล้าคุณภาพ. วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์. 5(1): 28-37. TCI
9 โศภิษฐา ไพฑูรยากุล, อาจเจริญ เทียนหอม และ ทัศไนย จารุวัฒนพันธ์. 2562. ความหลากหลายของโมนิโลไฟต์บริเวณเขาแหลม อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง จังหวัดตราด. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 8(3): 238-249. TCI
10 พรนัชชา คงพันธุ์, อารยา อาจเจริญ เทียนหอม และ ทัศไนย จารุวัฒนพันธ์. 2563. ขนาดและรูปแบบการตัดชิ้นส่วนกล้วยไข่เกษตรศาสตร์ 2ที่เหมาะสมในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 28(12): 2164-2172. https://doi.org/10.14456/tstj.2020.172. TCI
11 เกศินี ศรีปฐมกุล, อารยา อาจเจริญ เทียนหอม และ ทัศไนย จารุวัฒนพันธ์. 2563. การขยายพันธุ์ในสภาพปลอดเชื้อหญ้าพันเกลียว (Ceropegia thailandica Meve) พืชใกล้สูญพันธุ์อย่างยิ่งของประเทศไทย. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 9(1): 77-89. https://doi.org/10.14456/tjst.2020.7. TCI
12 ศศิธร สุขเกลี้ยง, ณัฏฐ พิชกรรม, อลิศรา มีนะกนิษฐ และ ทัศไนย จารุวัฒนพันธ์. 2563. การตอบสนองของไม้ประดับ 4 ชนิดต่อการให้แพกโคลบิวทราซอลในสภาวะขาดน้ำ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 9(4): 447-454. TCI
13 ศรัณย์พร ล่องชูผล, อารยา อาจเจริญ เทียนหอม และ ทัศไนย จารุวัฒนพันธ์. 2563. การขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อของกระเทียมน้้า (Isoetes coromandelina L.f.): ไลโคไฟต์หายากของประเทศไทย. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 28(4): 665-674. TCI
14 นำเพ็ชร พรหมสุวรรณ์, อารยา อาจเจริญ เทียนหอม และ ทัศไนย จารุวัฒนพันธ์. 2564. ผลของสูตรอาหาร ชนิดและปริมาณน้ำตาลต่อการเก็บรักษาเชื้อพันธุกรรมระยะกลางในสภาพปลอดเชื้อของกล้วยน้ำว้าปากช่อง 50. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 29(2). 216-225. https://doi.org/10.14456/tstj.2021.19. TCI
15 Chanchula, N., T. Jaruwattanaphan and A. Jala. 2014. Differential effects of sucrose and plant growth regulator on shoot multiplication and bulbil formation in Oxalis versicolour in vitro. Int. Transact. J. Eng. Manage. Appl. Sci. Technol. 5(4): 227-234. Google Scholar
16 Lestari, W. S., B. Adjie, T. Jaruwatanaphan, Y. Watano and M. Pharmawati. 2014. Molecular phylogeny of maidenhair fern genus Adiantum (Pteridaceae) from lesser Sunda Islands Indonesia based on rbcL and trnL-F. Reinwardtia. 14(1): 143-156. https://doi.org/10.14203/reinwardtia.v14i1.409. Scopus, DOAJ
17 Ebihara, A., N. Nakato and T. Jaruwattanaphan. 2017. A new taxonomic treatment for the apogamous counterpart of Pteris terminalis (Pteridaceae). Phytotaxa. 314(1): 73-80. https://doi.org/10.11646/phytotaxa.314.1.5. SCIE, Scopus
18 Teerangkul, K., P. Kaewsorn and T. Jaruwattanaphan. 2020. Effects of KNO3 and GA3 on breaking dormancy of cocklebur (Xanthium strumarium L.) seeds. King Mongkut's Agricultural Journal. 38(2): 200-207. TCI
19 Petchsri, S., L. Zhang and T. Jaruwattanaphan. 2022. Ophioglossum isanense sp. nov. (Ophioglossaceae, Pteridophyta) from Thailand. Phytotaxa. 533(3): 158-164. https://doi.org/10.11646/phytotaxa.533.3.1. Scopus
20 Limpanasittichai, P. and T. Jaruwatanaphan. 2022. Chromosome number and reproductive mode of some Pteris species (Pteridaceae) in Thailand. Biodiversitas Journal of Biological Diversity. 23(6): 3285-3296. https://doi.org/10.13057/biodiv/d230658. Scopus